ตรวจสอบด้วยความซื่อสัตย์ ดำรงไว้ซึ่งความเที่ยงธรรม

สายตรงร้องเรียนทุจริต 0 2329 8242

Previous slide
Next slide
ข่าวประชาสัมพันธ์

โครงการศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานตรวจสอบภายใน ได้เข้าร่วมโครงการศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ณ มหาลัยมหิดล ศาลายา วันที่ 25 เมษายน 2566

โครงการอบรมการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เรื่อง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน จริยธรรม และกฎหมาย  

โครงการอบรมการพัฒนาบุคลากรสายบริหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เรื่อง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน จริยธรรม และกฎหมาย

ขอแสดงความยินดีกับคุณ ปิยะมล บุญชื่น ที่ผ่านการสอบหลักสูตประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในของประเทศไทย Certified Professional Internal Audit of Thailand CPIAT # 50

ข่าวกิจกรรม

การประชุมที่ปรึกษางานตวจสอบ

การประชุมที่ปรึกษางานตวจสอบ                 งานตรวจสอบ ได้จัดการประชุมร่วมกับที่ปรึกษางานตรวจสอบ คุณวารุณี สุชิตวาส ที่ปรึกษาด้านการตรวจสอบ ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.

Read More »

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (วาระพิเศษ) ครั้งที่ 5/2567 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (วาระพิเศษ) ครั้งที่ 5/2567ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (วาระพิเศษ) ครั้งที่ 5/2567 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ในวันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม 2567 ณ

Read More »

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 5/2567 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 5/2567ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 5/2567 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ในวันอังคารที่ 30 กรกฎาคม 2567 ณ ห้องประชุมสภาสถาบัน ชั้น

Read More »

การหารือร่วมกับอธิการบดี เพื่อขอนโยบายในการวางแผนการตรวจสอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

การหารือร่วมกับอธิการบดี เพื่อขอนโยบายในการวางแผนการตรวจสอบประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568                     งานตรวจสอบภายในเข้าพบ ท่านอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร.คมสัน

Read More »

ผลการประเมินความพึงพอใจ 30/05/2566

กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบ (90.93%)
ความเห็นต่อรายงานการตรวจสอบ (91.11%)
ภาพรวมของงานตรวจสอบ (90.00%)

แผน-ผลการดำเนินงานประจำปี 2566

จำนวน 20 เรื่อง 100%
ดำเนินการเสร็จสิ้น จำนวน 12 เรื่อง (60%)
อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 8 เรื่อง (30%)
รอดำเนินการ จำนวน 2 เรื่อง (10%)

knowledge

องค์ความรู้ ประเด็นที่เป็นประโยชน์
เพื่อป้องกันการทุจริต

ควรเป็นเจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่ควบคุมเงินทดรองจ่ายหรือหัวหน้าการเงินลงลายมือชื่อ พร้อมลงวันที่ได้รับเงินสดหรือวันที่ได้รับใบสำคัญ  โดยให้ลงข้อมูลดังกล่าวด้านหลังสัญญาการยืมเงิน

ข้อบังคับสถาบันฯ ว่าด้วยการงบประมาณ การบริหารการเงินและสินทรัพย์ และการบัญชีของสถาบัน พ.ศ. 2556 หมวด 5 ส่วนที่ 3 การจ่ายเงินยืมทดรองจ่าย ข้อ 46 เงินยืมทดรองจ่ายให้ยืมได้ในกรณีดังต่อไปนี้

  1. ทดรองจ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงานของสถาบัน
  2. ทดรองจ่ายเพื่อการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีตกลงราคาที่จำเป็นต้องจ่ายเป็นเงินสด
  3. ทดรองจ่ายเพื่อการสวัสดิการของผู้ปฏิบัติงานในสถาบัน
  4. ทดรองจ่ายค่าใช้จ่ายอื่นใดในกิจการของสถาบัน ซึ่งได้รับอนุมัติให้เบิกจ่ายจากอธิการบดี
  1. การยืมเงินทดรองจ่าย ในสัญญาการยืมเงิน ไม่ควรระบุรายการยืมเงินหลาย ๆ รายการในสัญญายืมเงินฉบับเดียว เช่น ค่าใช้จ่ายเดินทาง     ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าวัสดุ ค่าจ้างรถบัส ค่าของที่ระลึก ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ฯลฯ เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการเคลียร์เอกสารการส่งใช้คืนเงินยืมด้วยใบสำคัญได้ภายในระยะเวลาที่สถาบันกำหนด
  2. การยืมเงินทดรองจ่าย  หน่วยงานผู้ยืมควรพิจารณาวงเงินที่จะยืมตามความจำเป็นในการใช้จ่ายแต่ละเรื่องที่ขออนุมัติ   และการส่งคืนเงินสดเหลือจ่ายไม่เกินร้อยละ 30 ของวงเงินที่ยืม เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ของสถาบันที่กำหนด และเป็นไปตามหลักการควบคุมภายในด้านที่ดี

กรณีหน่วยงานไม่มีตู้นิรภัยสามารถเก็บเงินสดย่อยในบัญชีธนาคารส่วนตัวได้หรือไม่ ?                                                                                                              ตอบ สามารถดำเนินการได้ในกรณีที่ไม่มีระเบียบหรือประกาศรองรับการเก็บรักษาเงินสดย่อยในบัญชีธนาคารส่วนตัว โดยทำการเปิดบัญชีประเภทออมทรัพย์
ในชื่อพนักงานผู้ถือวงเงินสดย่อย โดยมีวัตถุประสงค์สำหรับไว้เก็บรักษาเงินสดย่อยของหน่วยงานเท่านั้น และสามารถใช้ Internet Banking ในบัญชีดังกล่าวได้
เพื่อทำการถอนใช้วงเงินสดย่อยโดยเฉพาะ

กรณีมีค่าธรรมเนียมการโอน หรือค่าธรรมเนียมรายปีหากเกิดขึ้นจะต้องทำอย่างไร ?                                                           
ตอบ
ผู้รักษาเงินสดย่อยสามารถเบิกค่าธรรมเนียมการโอนมาชดใช้คืนเงินสดย่อยได้ และถือเป็นค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน

กรณีได้รับดอกเบี้ยจะต้องทำอย่างไร ?                                                                                                                                         
ตอบ ผู้รักษาเงินสดย่อยสรุปรายงานให้บัญชีเพื่อบันทึกเป็นรายได้อื่นของหน่วยงาน

กรณีเช็คสั่งจ่ายให้ผู้รับเงินแต่ไม่ได้นำเช็คไปขึ้นเงิน และเช็คเกินกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันที่ลงนามในเช็ค เจ้าหน้าที่การเงินต้องยกเลิกเช็คฉบับเก่าทุกครั้ง กรณีผู้รับเงินขอให้ออกเช็คฉบับใหม่ ผู้รับเงินต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการออกเช็ค

ลิงค์หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
Scroll to Top